เนื่องในวันนี้ วันที่ 6 มิถุนายน ซี่งในอดีตวันนี้เป็นวันที่กองทัพฝ่ายพันธมิตรยกพลมากที่สุดในประวัติศาสตร์สงครามขึ้นฝั่งที่ “นอร์มังดี” เมื่อปี 1994 เลยขอถือโอกาสนำเสนอเรื่องราวของวัน D-Day ในหัวข้อ “10 เรื่องที่คุณอาจจะไม่รู้เกี่ยวกับวัน D-Day”
10. สถานการณ์หนักหน่วงที่สุด
กองทัพที่เจอศึกหนักที่สุดก็คือกองทัพอเมริกาที่หาดโอมาฮา ซึ่งก็คือกองพลทหารราบที่ 1 ได้รับการสนับสนุนจากรถถังเพียง 5 คันเท่านั้น และต้องมาเจอกับกองทัพเยอรมันที่มีประสบการณ์โชกโชนจากกองพลที่ 352 ถึงจะได้รับการยิงสนับสนุนจากเรือระดมยิง ก่อนการยกพลขึ้นบกอย่างหนักหน่วง แต่กำลังของเยอรมันส่วนใหญ่ ก็แทบไม่ได้รับความเสียหายแต่อย่างใด ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขนาดที่ว่าเกือบจะถอนตัวเลยทีเดียว แต่ก็สามารถยึดหาดได้สำเร็จ
9. ศึก 2 ด้านของนาซี
การยกพลขึ้นบกในครั้งนี้ (D-DAY) เพื่อเปิดสงครามด้านที่สองของเยอรมัน ซึ่งกำลังเผชิญกับรัสเซียทางด้านตะวันออกทำให้เยอรมันต้องทำสงครามที่หนักหน่วงและการคาดเดาที่ผิดพลาด ที่คิดว่าทางพันธมิตรจะจะยกพลขึ้นบกที่คาเล่ย์ (Calais) เลยหละหลวมการป้องการที่ ฝั่งนอร์มังดี
8. อะไรคือ D-DAY
หลายคนอาจจะไม่รู้ว่ามันหมายถึงอะไร D ใน D-DAY หมายถึงวันที่ และ H-Hour เป็นคำที่ใช้ในการวางกลยุทธ์ ทางทหารในการระบุวันและเวลาของการดำเนินการที่ยังไม่สรุปและเป็นความลับของภารกิจ เรียกง่ายๆเหมือนเป็นรหัสลับที่ไม่ให้ฝั่งตรงข้ามรู้ได้ง่ายๆ
7. ความเสียหาย
ทหารสหพันธมิตรสูญเสียทหารมากกว่า 10,000 นาย โดยเสียจาก “หาด โกลด์ จูโน ” และ “สวอร์ด” เสียชีวิตสูญหายกว่า 3,000 นาย และทางด้านหาด “ยูท่าห์” เสียชีวิตและสูญหายไม่ถึง 300 นาย ถือว่าการป้องกันทางด้านนี้ไม่หนาแน่นหนัก ส่วนที่เจอศึกหนักที่สุดเป็น “หาดโอมาฮา” ศึกส่วนนี้กองทัพสหรัฐสูญเสียทหารไปมากกว่า 2,000 นาย และส่วนนี้ยังเป็นส่วนที่ทหารเยอรมันมีการวางกำลังแข็งแกร่งที่สุด โดยความเสียหายถือว่าต่ำกว่าที่ประเมินไว้มาก
6. การป้องกันของเยอรมัน
ทางด้านนาซีได้เตรียมสร้างปราการขนาดใหญ่ โดยให้ชื่อว่า “Atlantic Wall”โดยกำแพงสร้างจากคอนกรีต มีการวางปืนกลและวางกับดักระเบิดมากกว่า 6,500,000 ลูกและวางสิ่งกีดขวางทางทะเลอีกมหาศาล
5. เหตุที่ D-DAY สำเร็จ
เนื่องจากในขณะนั้นกองทัพเยอรมันหรือ “นาซี” ขนอาวุธยุทโธปกรณ์ดีๆ ไปรบกับพี่หมีขาว (รัสเซีย)หมดแล้ว แถมในขณะนั้นก็เสียกำลังทหารไปไม่น้อย เหมือนพญาอินทรีปีกหักก็มิปาน ทางฝั่งนี้ก็เลยไม่มีอาวุธดีๆ เท่าไหร่นัก จึงไม่ยากที่กองทัพของพันธมิตรจะยึดได้อย่างไม่ยากเย็นเท่าไหร่ แถมยังปลดปล่อยปารีส และจบสงครามในเวลาต่อมาอีกด้วย
4. รหัส
D-DAY เป็นการร่วมมือระหว่างกองทัพเรือ กองทัพบกและกองทัพอากาศที่ใหญ่ที่สุดที่ได้เกิดขึ้น ภายใต้รหัส "Overlord"
3. ใหญ่ที่สุด
ดี-เดย์ นับเป็นการรุกโต้ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรปของฝ่ายสัมพันธมิตร และนับเป็นการยกพลขึ้นบกครั้งใหญ่ที่สุดที่เคยปรากฏในประวัติศาสตร์โลก ปฏิบัติการดำเนินต่อไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2478 จนปลดปล่อยปารีสจากนาซีได้ในที่สุด
2. กองกำลัง
กองกำลังทหารฝ่ายพันธมิตรจำนวน 150,000 นาย นำโดย นายพลดไวท์ ไอเซนเฮาว์ (พร้อมด้วยเรือรบ 5,000 ลำ และเครื่องบินอีก 12,000 ลำ ยกพลขึ้นบกที่ชายฝั่งเมืองนอร์มังดี และถือเป็นการยกพลขึ้นบกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เลยครับ
1. กำหนดการจริง
หลายๆ คนอาจจะไม่ทราบว่าจริงๆ แล้วกำหนดการเดิมของการเริ่ม “D-DAY” คือ ช่วงหน้าร้อนของปี 1942 หรืออีกนัยหนึ่งก็คือก่อนหน้าวัน D-day ที่เกิดขึ้นจริงๆ ถึง 2 ปี โดยเกิดจากความคิดของ ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 ในขณะนั้น นั้นก็คือ “นายพลดไวท์ ดี ไอเซนฮาวร์” ซึ่ง ประธานาธิบดีรูสเวลท์ ก็เห็นด้วยเป็นมั่นเหมาะ แต่ก็มีตัวปัญหาในขณะนั้นก็คือ นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ ของอังกฤษ ทำให้แผนการล่าช้าไปถึง 2 ปี ผมว่าหากเริ่มแผนเร็วสงครามก็คงจบเร็วกว่านี้มากและการสูญเสียอาจจะน้อยกว่านี้แน่นอน
กองทัพที่เจอศึกหนักที่สุดก็คือกองทัพอเมริกาที่หาดโอมาฮา ซึ่งก็คือกองพลทหารราบที่ 1 ได้รับการสนับสนุนจากรถถังเพียง 5 คันเท่านั้น และต้องมาเจอกับกองทัพเยอรมันที่มีประสบการณ์โชกโชนจากกองพลที่ 352 ถึงจะได้รับการยิงสนับสนุนจากเรือระดมยิง ก่อนการยกพลขึ้นบกอย่างหนักหน่วง แต่กำลังของเยอรมันส่วนใหญ่ ก็แทบไม่ได้รับความเสียหายแต่อย่างใด ทำให้ยอดผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขนาดที่ว่าเกือบจะถอนตัวเลยทีเดียว แต่ก็สามารถยึดหาดได้สำเร็จ
9. ศึก 2 ด้านของนาซี
การยกพลขึ้นบกในครั้งนี้ (D-DAY) เพื่อเปิดสงครามด้านที่สองของเยอรมัน ซึ่งกำลังเผชิญกับรัสเซียทางด้านตะวันออกทำให้เยอรมันต้องทำสงครามที่หนักหน่วงและการคาดเดาที่ผิดพลาด ที่คิดว่าทางพันธมิตรจะจะยกพลขึ้นบกที่คาเล่ย์ (Calais) เลยหละหลวมการป้องการที่ ฝั่งนอร์มังดี
8. อะไรคือ D-DAY
หลายคนอาจจะไม่รู้ว่ามันหมายถึงอะไร D ใน D-DAY หมายถึงวันที่ และ H-Hour เป็นคำที่ใช้ในการวางกลยุทธ์ ทางทหารในการระบุวันและเวลาของการดำเนินการที่ยังไม่สรุปและเป็นความลับของภารกิจ เรียกง่ายๆเหมือนเป็นรหัสลับที่ไม่ให้ฝั่งตรงข้ามรู้ได้ง่ายๆ
7. ความเสียหาย
ทหารสหพันธมิตรสูญเสียทหารมากกว่า 10,000 นาย โดยเสียจาก “หาด โกลด์ จูโน ” และ “สวอร์ด” เสียชีวิตสูญหายกว่า 3,000 นาย และทางด้านหาด “ยูท่าห์” เสียชีวิตและสูญหายไม่ถึง 300 นาย ถือว่าการป้องกันทางด้านนี้ไม่หนาแน่นหนัก ส่วนที่เจอศึกหนักที่สุดเป็น “หาดโอมาฮา” ศึกส่วนนี้กองทัพสหรัฐสูญเสียทหารไปมากกว่า 2,000 นาย และส่วนนี้ยังเป็นส่วนที่ทหารเยอรมันมีการวางกำลังแข็งแกร่งที่สุด โดยความเสียหายถือว่าต่ำกว่าที่ประเมินไว้มาก
6. การป้องกันของเยอรมัน
ทางด้านนาซีได้เตรียมสร้างปราการขนาดใหญ่ โดยให้ชื่อว่า “Atlantic Wall”โดยกำแพงสร้างจากคอนกรีต มีการวางปืนกลและวางกับดักระเบิดมากกว่า 6,500,000 ลูกและวางสิ่งกีดขวางทางทะเลอีกมหาศาล
5. เหตุที่ D-DAY สำเร็จ
เนื่องจากในขณะนั้นกองทัพเยอรมันหรือ “นาซี” ขนอาวุธยุทโธปกรณ์ดีๆ ไปรบกับพี่หมีขาว (รัสเซีย)หมดแล้ว แถมในขณะนั้นก็เสียกำลังทหารไปไม่น้อย เหมือนพญาอินทรีปีกหักก็มิปาน ทางฝั่งนี้ก็เลยไม่มีอาวุธดีๆ เท่าไหร่นัก จึงไม่ยากที่กองทัพของพันธมิตรจะยึดได้อย่างไม่ยากเย็นเท่าไหร่ แถมยังปลดปล่อยปารีส และจบสงครามในเวลาต่อมาอีกด้วย
4. รหัส
D-DAY เป็นการร่วมมือระหว่างกองทัพเรือ กองทัพบกและกองทัพอากาศที่ใหญ่ที่สุดที่ได้เกิดขึ้น ภายใต้รหัส "Overlord"
3. ใหญ่ที่สุด
ดี-เดย์ นับเป็นการรุกโต้ครั้งใหญ่ที่สุดในยุโรปของฝ่ายสัมพันธมิตร และนับเป็นการยกพลขึ้นบกครั้งใหญ่ที่สุดที่เคยปรากฏในประวัติศาสตร์โลก ปฏิบัติการดำเนินต่อไปจนถึงเดือนสิงหาคม 2478 จนปลดปล่อยปารีสจากนาซีได้ในที่สุด
2. กองกำลัง
กองกำลังทหารฝ่ายพันธมิตรจำนวน 150,000 นาย นำโดย นายพลดไวท์ ไอเซนเฮาว์ (พร้อมด้วยเรือรบ 5,000 ลำ และเครื่องบินอีก 12,000 ลำ ยกพลขึ้นบกที่ชายฝั่งเมืองนอร์มังดี และถือเป็นการยกพลขึ้นบกที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์เลยครับ
1. กำหนดการจริง
หลายๆ คนอาจจะไม่ทราบว่าจริงๆ แล้วกำหนดการเดิมของการเริ่ม “D-DAY” คือ ช่วงหน้าร้อนของปี 1942 หรืออีกนัยหนึ่งก็คือก่อนหน้าวัน D-day ที่เกิดขึ้นจริงๆ ถึง 2 ปี โดยเกิดจากความคิดของ ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ 2 ในขณะนั้น นั้นก็คือ “นายพลดไวท์ ดี ไอเซนฮาวร์” ซึ่ง ประธานาธิบดีรูสเวลท์ ก็เห็นด้วยเป็นมั่นเหมาะ แต่ก็มีตัวปัญหาในขณะนั้นก็คือ นายกรัฐมนตรีเชอร์ชิลล์ ของอังกฤษ ทำให้แผนการล่าช้าไปถึง 2 ปี ผมว่าหากเริ่มแผนเร็วสงครามก็คงจบเร็วกว่านี้มากและการสูญเสียอาจจะน้อยกว่านี้แน่นอน