สารคดี ANCIENT DISCOVERIES ตอน เทคโนโลยีทัพเรือ
ANCIENT DISCOVERIES ตอน เทคโนโลยีทัพเรือ
ป้ายกำกับ:
สงคราม
บ้านลุงโฮจิมินห์@นครพนม Uncle Ho house
บ้านลุงโฮจิมินห์@นครพนม Uncle Ho house
ป้ายกำกับ:
บุคคลสำคัญ,
ประวัติศาสตร์
ท่องทั่วทวีป ตอน เส้นทางสายไหม...จากซีอานสู่คัซการ์
ท่องทั่วทวีป ตอน เส้นทางสายไหม...จากซีอานสู่คัซการ์
ป้ายกำกับ:
สถานที่
ย้อนรอยวิทยาศาสตร์ ความลับแห่งชีวิต
ย้อนรอยวิทยาศาสตร์ ความลับแห่งชีวิต
สารคดีมิติโลกหลังเที่ยงคืนชุดย้อนรอยวิทย าศาสตร์ ตอนความลับแห่งชีวิต
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยี
ท่องโลกกว้าง ตะลุยอินเดีย 1-3
ท่องโลกกว้าง ตะลุยอินเดีย 2
ท่องโลกกว้าง ตะลุยอินเดีย 3
ป้ายกำกับ:
สารคดีต่างประเทศ
ท่องโลกกว้าง อลังการงานขุดระดับโลก
ท่องโลกกว้าง อลังการงานขุดระดับโลก
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยี,
สารคดีต่างประเทศ
อัศจรรย์โลกน้ำแข็ง ตอน ฤดูใบไม้ร่วง
อัศจรรย์โลกน้ำแข็ง ตอน ฤดูใบไม้ร่วง
ป้ายกำกับ:
สถานที่,
สารคดีออนไลน์,
อเมริกา
ท่องโลกกว้าง - ย้อนรอยทาง..ห้างสินค้าโลก
ท่องโลกกว้าง - ย้อนรอยทาง..ห้างสินค้าโลก
สารคดีท่องโลกกว้าง ชุด ย้อนรอยทาง ห้างสินค้าโลก ตอนที่ 1, 11 มีนาคม 2556
ทำไมห้างสรรพสินค้าแห่งแรกของโลกแห่งนี้ จึงเปลี่ยนวิถีชีวิตผู้คนได้มากมาย ชุด ย้อนรอยทาง ห้างสินค้าโลก
ทำไมห้างสรรพสินค้าแห่งแรกของโลกแห่งนี้ จึงเปลี่ยนวิถีชีวิตผู้คนได้มากมาย ชุด ย้อนรอยทาง ห้างสินค้าโลก
ป้ายกำกับ:
สถานที่,
สารคดีออนไลน์
มรดกโลกยังมีลมหายใจเนปาล
มรดกโลกยังมีลมหายใจเนปาล
มรดกโลก ที่ไปแล้วอยากไปอีก เนปาลเป็นประเทศเล็กๆ คนส่วนใหญ่ยังแต่งกายแบบดั่งเดิมจะสัมผัสพ บเห็นอยู่ได้ทั้วไปทั้งในเมืองหลวงหรือชนบ ท สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขามีอากาศเย ็นสบาย ยอดเขาเอเวอเรสต์เป็นหนึ่งของยอดหิมาลัย เขาสูงที่สุดในโลก 8,844 เมตร ยอดเอเวอเรสต์มีหิมะปกคลุมตลอดทั้งปี ผมได้ร่วมกับสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด อาจารย์เกรียงไกล เกิดศิริ มหาวิทยาลัยศิลปากร นักเขียนรางวัลพิเศษ ประจำปี 2548 สารคดีเรื่อง เนปาลจักรวาลกลางอ้อมกอดของขุนเขา ( เป็นผู้บรรยายร่วมในสารคดีชุดนี้ ) และท่านศิลปินแห่งชาติ ดร.วนิดา พึ่งสมุนทรพร้อมคณะอาจารย์ศิลปกร เจ้าหน้าที่กระทรวงวัฒธรรม และวัฒนธรรมอีกหลายจังหวัด วันออกเดินทางไปเนปาล ผมยังไม่รู้ด้วยช้ำผมกำลังร่วมเดินทางกับน ักประวัติศาสตร์ของเมืองไทย แต่ก็ไม่สายผมรู้ท่านเหล่านั้นก็ตอนรับประ ทานอาหารในโรงแรมที่ประเทศบังคลาเทศโดยการ แนะนำตัว แต่ทั้ง 2 ท่านผมมารู้ตอนขากลับเมืองไทย พวกเราร่วมทุกข์สุขด้วยกันเพราะโรงแรมที่น ี่ พนักงานต้อนรับ เจ้าหน้าทำความสะอาด พ่อครัวทำอาหาร พนักงานทุกคนรับหน้าที่ทั้งหมด เดินทางทริปนี้คุ้มจริงๆ ได้ทั้งทั้งข้อมูลความรู้ตื้นเต้นตลอดการเ ดินทาง ระหว่างพักต่อเครื่องบินที่ประเทศบังคลาเท ศ ถูกเจ้าหน้าที่สนามบินกักอยู่ในบริเวณในสน ามบินไม่ให้เข้าประเทศบังคลาเทศหลายชั่วโม ง ( ติดตามตอนบังคลาเทศ ดินแดนสีสันแห่งรอยยิ้ม ) ผมบอกตรงๆ น่ะมาที่เนปาลครั้งนี้แยกเรื่องของศาสนาพุ ทธกับฮินดูไม่ออกจริงๆ เห็นความยิ่งใหญ่ทั้งสถาปัยกรรม พิธีกรรมในความเชื่อ หลากหลายเรื่องศาสนา เต็มไปด้วยมรดกโลกหลายแห่ง ( คิดเป็น%มากกว่า จีน อินเดีย เสียอีก ) เนปาล ลุมพินีวันยังเป็นสถานที่ประสูตของ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ป้ายกำกับ:
สถานที่
กำแพงเมืองจีน ทัวร์ปักกิ่ง
กำแพงเมืองจีน ทัวร์ปักกิ่ง
กำแพงเมืองจีน หรือกำแพงหมื่นลี้เริ่มก่อสร้างขึ้นเป็นคร ั้งแรกในศตวรรษที่ 5 ก่อนคริสตกาล แนวกำแพงทอดตัวลัดเลี้ยวผ่านภาคเหนือของปร ะเทศรวมระยะทางกว่า 10,000 กิโลเมตร กำแพงหมื่นลี้ (ว่านหลี่ฉางเฉิง) ที่คนนิยมไปเที่ยวกันมากในปัจจุบันคือกำแพ งช่วงที่อยู่ใกล้กับปักกิ่ง ผ่านการก่อสร้างต่อเติมและเสริมป้อมปราการ เข้าไปในยุคราชวงศ์หมิง (ปี 1368-1644) ทั้งยังถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ มีการนำอิฐมาใช้สร้างกำแพงแทนที่จะใช้ดินอ ัดเอาตามกรรมวิธีแบบดั้งเดิม ราชวงศ์หมิงสร้างกำแพงช่วงใหม่ขึ้นทางตอนบ นของกรุงปักกิ่งรวมความยาว 630 กิโลเมตร โดยหวังจะให้เป็นปราการและเส้นทางส่งต่อสั ญญาณแจ้งเตือนให้ทางเมืองหลวงได้รู้ตัวและ เตรียมต้านรับการบุกโจมตีของพวกชนเผ่าเร่ร ่อนจากทางเหนือได้ทันท่วงที แต่สุดท้ายทัพแมนจูก็ตีฝ่าแนวกำแพงบุกเข้า ยึดปักกิ่ง และตั้งราชวงศ์ชิงขึ้นปกครองจีนแทนราชวงศ์ หมิงจนได้
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.tripdeedee.com
กำแพงเมืองจีน หรือกำแพงหมื่นลี้เริ่มก่อสร้างขึ้นเป็นคร
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.tripdeedee.com
ป้ายกำกับ:
สถานที่
มิติโลกหลังเที่ยงคืน ตอน หน่วยบินแห่งอะลาสก้า
มิติโลกหลังเที่ยงคืน ตอน หน่วยบินแห่งอลาสก้า (1)
มิติโลกหลังเที่ยงคืน ตอน หน่วยบินแห่งอะลาสก้า [2]
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยี
สารคดีท่องแดนธรรมชาติ ตอน นามิเบีย
ป้ายกำกับ:
สถานที่
สาคดีมิติโลกหลังเที่ยงคืน : สู่โลกต่างแดน 3 ตอน โมร็อกโก
“เอ็มมานูเอล” เป็นนักสำรวจสาว ที่รักการเดินทางและชอบพบปะผู้คนที่อาศัยอยู่ในดินแดน อันห่างไกลทั่วโลก การเดินทางโดยรถไฟเป็นเวลาหลายๆวันเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการทำความรู้จักกับดินแดนแปลกใหม่และผู้คนที่อาศัยอยู่ที่นั่น ในสารคดีชุดนี้เราจะติดตามเอ็มมานูเอลออกเดินทางไปบนเส้นทางรถไฟที่สวยที่สุดเพื่อสำรวจดินแดนห่างไกลในส่วนต่างๆของโลกและพบกับสิ่งแปลกใหม่ที่น่าหลงใหล
ในตอนนี้ เธอจะพาเราโดยสารรถไฟที่เชื่อมเมืองมาราเกซ ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าและนครคาซาบลังก้าซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการในปัจจุบันหรือที่เรียกกันในอีกชื่อหนึ่งว่า “ห้องทดลองของความทันสมัย” ที่นี่วิถีชีวิตเต็มไปด้วยความสุขและเป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยเสน่ห์ดึงดูดผู้คนจากทั่วทุกมุมโลก ระหว่างการเดินทางเอ็มม่าจะได้พบกับผู้คนที่ยังคงใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมและเธอจะไปค้นหาว่าวิถีชีวิตแบบนี้ถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นได้อย่างไรและอนาคตของมันจะเป็นไปอย่างไรต่อไป
ป้ายกำกับ:
สารคดีต่างประเทศ,
สารคดีออนไลน์
สารคดี สุดยอดงานทางทหาร
งานทหารสุดหิน...ที่ทหารหาญสุดกล้าจะทำให้
โดย HS3XWH
ขอขอบพระคุณ ทรูวิชั่น และ Discovery
ป้ายกำกับ:
สงคราม,
สารคดีออนไลน์
สารคดีนอสตราดามุส 500 ปี หลังคำทำนาย
นอสตราดามุส 500 ปี หลังคำทำนาย ตอน1
นอสตราดามุส 500 ปี หลังคำทำนาย ตอน2
ป้ายกำกับ:
บุคคลสำคัญ,
สารคดีออนไลน์
สารคดีจักรวาลกับมอร์แกน ฟรีแมน ตอน อะไรสร้างเรามา?
ไขความลับจักรวาลกับมอร์แกน ฟรีแมน ตอน อะไรสร้างเรามา?
นักวิทยาศาสตร์จากอเมริกาและยุโรปแข่งกันส
สถานีโทรทัศน์ ไทย พีบีเอส
ป้ายกำกับ:
โลก,
สารคดีออนไลน์
สารดคี คาร์เธจ
ท่องโลกกว้าง : คาร์เธจ (30 พ.ย. 54)
สารคดีชุด ENGINEERING AN EMPIRE ชุดนี้ นำเสนอความยิ่งใหญ่ในการสร้างสถาปัตยกรรมข
ป้ายกำกับ:
สัตว์,
สารคดีออนไลน์,
อเมริกา
สารคดีครบรอบ 100 ปีเรือไททานิคจม
สารคดีครบรอบ 100 ปีเรือไททานิคจม
ป้ายกำกับ:
เทคโนโลยี,
สารคดีออนไลน์
บทความสารคดีการล่มสลายของสหภาพโซเวียต
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
มิคาอิล กอร์บาชอฟ
โซเวียต (รัสเซีย: Сою́з Сове́тских Социалисти́ческих Респу́блик - CCCP; อังกฤษ: The Union of Soviet Socialist Republics - USSR) นิยมเรียกสั้นว่า สหภาพโซเวียต (อังกฤษ: Soviet Union)
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต
การล่มสลายของสหภาพโซเวียต เป็นชื่อเรียกช่วงเวลาระหว่าง ปี ค.ศ. 1985 ถึง ค.ศ. 1991 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่นาย มิคาอิล กอร์บาชอฟ เป็นผู้นำของสหภาพโซเวียต เขาได้เดินหน้าปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองของสหภาพโซเวียต ภายใต้โครงการ เปเรสตรอยกา และกลาสต์น็อตซึ่งเป็นการเพิ่มสิทธิเสรีภาพของประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นเจ้าของธุรกิจส่วนบุคคล ซึ่งการปฏิรูปดังกล่าวทำให้ประชาชนในสหภาพโซเวียตตระหนักถึงเสรีภาพในการดำรงชีวิต ทำให้เกิดการล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 ในที่สุดการขึ้นสู่อำนาจของกอร์บาชอฟ
มิคาอิล กอร์บาชอฟ แม้ว่าการปฏิรูปก่อนหน้านั้นได้ล่าช้าลงในช่วงปี 1964-1982 แต่ว่าการที่คนรุ่นใหม่ได้มีอำนาจแทนคนรุ่นเก่าก็ได้สร้างสภาวะที่เหมาะแก่การปฏิรูปขึ้นอีกครั้ง ความสัมพันธ์ของสหภาพโซเวียตกับสหรัฐอเมริกาที่เปลี่ยนแปลงไปก็ยังเป็นความจำเป็นหนึ่งของการปฏิรูป แม้ว่าประธานาธิบดีจิมมี คาร์เตอร์ ได้ล้มเลิกนโยบายประนีประนอมหลังจากที่สหภาพโซเวียตโจมตีอัฟกานิสถาน แต่ความตึงเครียดระหว่างสหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตก็ได้ขึ้นสูงสุดนับตั้งแต่เหตุการณ์วิกฤตการณ์ขีปนาวุธคิวบา ในสมัยแรกของประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกนในเวลานั้นเอง มิคาอิล กอร์บาชอฟ ก็ได้สนับสนุนนโยบายที่จะนำไปสู่การล่มสลายทางการเมืองของสหภาพโซเวียต โดยการควบคุมเศรษฐกิจผ่านทางนโยบายกลาสนอสต์ (การเปิดกว้างทางการเมือง) เปเรสตรอยกา (การวางโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่) และอุสโคเรนิเย (การเร่งพัฒนาการทางเศรษฐกิจ) เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียตก่อนหน้านั้นได้รับผลเสียจากอัตราเงินเฟ้อแฝงและการขาดแคลนวัตถุดิบอันเนื่องมาจากการบริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพ
นโยบายเปเรสตรอยกาและกลาสนอสต์
มิคาอิล กอร์บาชอฟ ได้เป็นผู้นำสหภาพโซเวียต นับตั้งแต่เดือนมีนาคม 1985 ไม่นานหลังจากการเสียชีวิตของคอนสแตนติน เคอร์เชนโก กอร์บาชอฟได้ริเริ่มการปฏิรูปทางการเมืองหลายอย่างภายใต้นโยบายที่เรียกว่า กลานอสต์ ประกอบด้วย การลดความเข้มงวดในการเซนเซอร์ การลดอำนาจหน่วยเคจีบี และการเสริมสร้างความเป็นประชาธิปไตย การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้นั้นมีจุดประสงค์เพื่อกำจัดการต่อต้านการปฏิรูปทางเศรษฐกิจจากกลุ่มอำนาจฝ่ายอนุรักษ์นิยมภายในพรรคคอมมิวนิสต์ ภายใต้การปฏิรูปนี้ ผู้ที่ดำรงตำแหน่งสำคัญๆ ในพรรคคอมมิวนิสต์จะต้องมาจากการเลือกตั้ง (โดยสมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์เอง)ซึ่งเป็นการใช้ระบบนี้ครั้งแรก ท่ามกลางการคัดค้านจากกลุ่มอนุรักษ์นิยม อย่างไรก็ตาม การลดความเข้มงวดในการเซนเซอร์และความพยายามที่จะสร้างการเมืองที่เปิดกว้างมากขึ้นโดยกอร์บาชอฟ ได้ปลุกความรู้สึกชาตินิยมและต่อต้านรัสเซียในสาธารณรัฐเล็กๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อยในสหภาพโซเวียต ในคริสต์ทศวรรษ 1980 เสียงที่เรียกร้องอิสรภาพจากการปกครองจากมอสโกได้ดังขั้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะในสาธารณรัฐแถบทะเลบอลติก คือ เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนีย ที่รวมกับสหภาพโซเวียตตั้งแต่ปี 1940 โดยโจเซฟ สตาลิน ความรู้สึกชาตินิยมนั้นก็ยังได้แพร่หลายในสาธารณรัฐอื่น ๆ เช่น ยูเครนจอร์เจียและอาเซอร์ไบจาน ขบวนการชาตินิยมเหล่านี้ได้เข้มแข็งขึ้นอย่างมากเมื่อเศรษฐกิจของโซเวียตตกต่ำ รัฐบาลที่กรุงมอสโกนั้นกลายเป็นแพะรับบาปของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ แสดงว่า กอร์บาชอฟนั้นได้ปลดปล่อยพลังที่จะทำลายสหภาพโซเวียตไปแล้วโดยไม่ได้ตั้งใจ
การล่มสลายของสหภาพโซเวียตเกิดประเทศใหม่ 15 ประเทศ
1. รัสเซีย - สหพันธรัฐรัสเซีย Russian Federation (Russian SFSR)เมืองหลวง คือ มอสโก
2. ยูเครน Ukrainian SSRเมืองหลวง คือ เคียฟ Kiev
3. อาร์เมเนีย Armenian SSRเมืองหลวง คือ เยราวาน Yerevan
4. เบลารุส Byelorussian SSR เมืองหลวง คือ มินสก์ Minsk
5. จอร์เจีย Georgian SSR เมืองหลวง คือ ทบีลีซี Tbilisi
6. มอลโดวา Moldavian SSR เมืองหลวง คือ คีชีเนา Chişinău
7. คาซัคสถาน Kazakh SSR เมืองหลวง คือ อัลมา-อาตา Alma-Ata
8. อุซเบกิสถาน Uzbek SSR เมืองหลวง คือ ทัสเคนต์ Tashkent
9. เติร์กเมนิสถาน Turkmen SSR เมืองหลวง คือ อัชกาบาด Ashgabat
10. คีร์กิซสถาน Kirghiz SSR เมืองหลวง คือ บิชเคก: Bishkek)
11. ทาจิกิสถาน Tajik SSRเมืองหลวง คือ ดูชานเบ Dushanbe
12. อาเซอร์ไบจาน Azerbaijan SSRเมืองหลวง คือ บากู Baku
13. เอสโตเนีย* Estonian SSRเมืองหลวง คือ ทัลลินน์Tallinn
14. ลัตเวีย*Latvian SSR เมืองหลวง คือ ริกา Riga
15. ลิธัวเนีย*Lithuanian SSR เมืองหลวง คือ วิลนิอุส Vilnius
* (เอสโตรเนีย ลัตเวียและลิธัวเนีย) กลุ่มประเทศในทะเลบอลติก
ป้ายกำกับ:
สงคราม